1 | งานบริบาลเภสัชสารสนเทศ | ข้อควรรู้สำหรับผู้รับบริการฉีดโควิด | | 17 มี.ค. 2021 | |
2 | งานบริบาลเภสัชสารสนเทศ | ขั้นตอนการรับวัคซีนโรงพยาบาลปราสาท | | 17 มี.ค. 2021 | |
3 | งานบริบาลเภสัชสารสนเทศ | คุณสามารถฉีดวัคซีนได้หรือไม่ | | 17 มี.ค. 2021 | |
4 | งานบริบาลเภสัชสารสนเทศ | จดหมายข่าวเภสัชสนเทศ-Covid-vacc-25-2-64 | | 17 มี.ค. 2021 | |
5 | งานบริบาลเภสัชสารสนเทศ | จดหมายข่าวเภสัชสนเทศ-Zn | | 17 มี.ค. 2021 | |
6 | งานบริบาลเภสัชสารสนเทศ | แผ่นพับ_การใช้ยาปฏิชีวนะในแผลสด | | 17 มี.ค. 2021 | |
7 | งานบริบาลเภสัชสารสนเทศ | แผ่นพับ_การใช้ยาสมเหตุสมผลในผู้สูงอายุ | | 17 มี.ค. 2021 | |
8 | งานบริบาลเภสัชสารสนเทศ | แผ่นพับ_การรับบริการฉีดวัคซีนโรงพยาบาลปราสาท | | 22 มิ.ย. 2021 | |
9 | งานบริบาลเภสัชสารสนเทศ | แผ่นพับ_ไข้หวัด เจ็บคอ แก้ | | 22 มิ.ย. 2021 | |
10 | งานบริบาลเภสัชสารสนเทศ | แผ่นพับ_ท้องเสีย | | 22 มิ.ย. 2021 | |
11 | งานบริบาลเภสัชสารสนเทศ | แผ่นพับ_ภาวะเลือดเป็นกรดจากยา Metformin | | 22 มิ.ย. 2021 | |
12 | งานบริบาลเภสัชสารสนเทศ | แผ่นพับการรับบริการฉีดวัคซีน | | 22 มิ.ย. 2021 | |
13 | งานบริบาลเภสัชสารสนเทศ | อาการไม่พึงประสงค์วัคซีนโควิด | | 22 มิ.ย. 2021 | |
14 | กลุ่มงานบัญชี | รายงานงบทดลองหน่วยเบิกจ่ายประจำเดือนกันยายน 2564 (งวด 12) | | 14 ต.ค. 2021 | |
15 | องค์กรพยาบาล | การพยาบาลผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (STEMI)
บทคัดย่อ
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน เป็นสาเหตุการเสียชีวิตที่สำคัญของประเทศไทย การวินิจฉัยและการดูแลรักษาพยาบาลที่ถูกต้อง รวดเร็ว ทำให้ลดอัตราการเสียชีวิตและภาวะแทรกซ้อนได้มาก ระบบการส่งต่อและการประสานงานภายในโรงพยาบาล มีส่วนสำคัญในการดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วยให้มีประสิทธิภาพ พยาบาลมีหน้าที่สำคัญในการดูแลผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดแบบเฉียบพลัน ในการ ประเมิน คัดกรองผู้ป่วยอย่างรวดเร็วตั้งแต่ผู้ป่วยมาถึงโรงพยาบาล
วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาการดำเนินของโรค การรักษา และการพยาบาลผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายในระยะ เฉียบพลัน และศึกษาเปรียบเทียบผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในกรณีศึกษา 1 ราย
ผลการศึกษา ผู้ป่วยชายชาวต่างชาติ อายุ 71 ปี มาโรงพยาบาลด้วยอาการสำคัญ คือ แน่นหน้าอก เป็นก่อนมาโรงพยาบาล 30 นาที ให้ประวัติว่า 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการแน่นบริเวณกลางอก มีร้าวไปที่แขนทั้งสองข้าง นั่งพักอาการทุเลาลง 30 นาทีก่อนมาโรงพยาบาล แน่นบริเวณหน้าอกมากขึ้น มีร้าวไปที่แขนสองข้าง นั่งพักไม่ดีขึ้น จึงมาโรงพยาบาล มีประวัติเป็นโรคความดันโลหิตสูงรับยาประจำ แรกรับที่โรงพยาบาล อุณหภูมิ 36.5 องศาเซลเซียส ชีพจร 84 ครั้ง/นาที หายใจ 22 ครั้ง/นาที ความดันโลหิต 190/100 มิลลิเมตรปรอท Pain score 8คะแนน ได้รับการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ พบ ST-elevate in V1-V6 Troponin -T Negative ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน (STEMI) ได้รับการรักษาด้วยยา Streptokinase 1.5 ล้านยูนิตทางหลอดเลือดดำ ภายใน 60 นาที ASA (300 mg) รับประทานทันที Clopodogrel (75 mg) รับประทานทันที Isosorbide dinitrate (5 mg) 1 tab อมใต้ลิ้น ให้สารนํ้า NSS1,000 อัตรา 60 มิลลิลิตรต่อชั่วโมงHydrocortisone (100 mg) ทางหลอดเลือดดำการดูแลด้านจิตใจ ความวิตกกังวล รวมถึงการดูแลส่งต่อไปโรงพยาบาลสุรินทร์
สรุป : บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน มีความ สำคัญยิ่งด้านความรู้ การคัดกรอง การซักประวัติ การประเมินอาการเจ็บหน้าอกอย่างรวดเร็ว จนกระทั่งส่งต่อในโรงพยาบาลที่มีศักยภาพสูงกว่า สามารถลดการสูญเสียชีวิตของผู้ป่วยได้
คำสำคัญ : โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน กรณีศึกษา
| | 27 ม.ค. 2022 | |
16 | คณะกรรมการสารสนเทศ
ทางการแพทย์ | พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 | | 16 มิ.ย. 2022 | |
17 | คณะกรรมการสารสนเทศ
ทางการแพทย์ | หนังสือแจ้งการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
(สำหรับการรับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุข)
| | 16 มิ.ย. 2022 | |
18 | กลุ่มงานการเงิน | รายงานงบทดลองหน่วยเบิกจ่ายประจำเดือนกันยายน 2565 | | 18 ต.ค. 2022 | |
19 | (ไม่ได้ตั้ง) | | | 28 ก.พ. 2023 | |
20 | คณะอนุกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดด้าน การจัดการ การดื้อยาต้านจุลชีพในโรงพยาบาล | คู่มือการใช้ยาต้านจุลชีพอย่างสมเหตุสมผล | | 27 มิ.ย. 2024 | |
21 | งานการพยาบาลดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง | คู่มือและแนวทางการปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประครอง | | 10 ก.ค. 2024 | |