วันอาทิตย์ที่ 12 พฤษภาคม ค.ศ. 2024

เพื่อเพิ่มอัตราการคุมก าเนิดกึ่งถาวรมารดาวัยรุ่นหลังคลอดอายุน้อยกว่า20ปี ที่มารับบริการโรงพยาบาล
และลดการตั้งครรภ์ซ้ าในวัยรุ่นอายุน้อยกว่า 20 ปี ด าเนินการโดย เพิ่มการประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุม/หลากหลาย
โดยเชิงรุก รพ.สต. อบรมครู อสม จนท.รพ.สต. การสื่อสารระหว่างทีมที่มีประสิทธิภาพมีกระบวนการให้ข้อมูลการฝัง
ยาคุมก าเนิดตั้งแต่ฝากครรภ์ กรณีหลังคลอดหากยังตัดสินใจไม่ได้ เพิ่มกระบวนการ Motivation โดยผู้เชี่ยวชาญกว่า
มีความพร้อมด้านการรักษา(ฝังยา) โดยเพิ่มสมรรถนะการฝังยาคุมก าเนิดส าหรับพยาบาล (PP, OPD สูติ, VIP)
ผลลัพธ์ อัตราการคุมก าเนิดกึ่งถาวรมารดาวัยรุ่นหลังคลอดอายุน้อยกว่า20ปี เพิ่มขึ้นในปี 2560-2562 จากร้อยละ
66.57 เป็นร้อยละ 82.35 และ 88.97 ตามล าดับ ร้อยละการตั้งครรภ์ซ้ าในวัยรุ่นอายุน้อยกว่า 20 ปีเริ่มมีแนวโน้ม
ลดลง จากร้อยละ 15.78 เป็น 15.07, 16.47, 15.73 และ 14.10 ตามล าดับ สาเหตุคือ ปีงบประมาณ 2558-2560
ยังไม่มีกระบวนการติดตาม และเน้นการฝังยาคุมก าเนิดที่เริ่มต้นตั้งแต่ก่อนจ าหน่ายจากโรงพยาบาลปราสาท เฉพาะ
สูตินรีแพทย์เป็นผู้ฝังยาเท่านั้น รวมทั้งการติดตามหลังคลอดยังไม่ครอบคลุม ต่อมาในปี 2561 เริ่มพัฒนาด้วยการ
เน้นการแนะน าให้ค าปรึกษาเรื่องการฝังยาคุมก าเนิดหลังคลอดและหลังแท้งก่อนจ าหน่าย และการติดตามไปจนถึง
ช่วงหลังคลอด 6 สัปดาห์ รวมทั้งการพัฒนาทักษะการฝังยาคุมก าเนิดส าหรับพยาบาล ท าให้สามารถฝังยาได้ทุกจุด
บริการ แต่อย่างไรก็ตามพบว่า ยังต้องพัฒนาต่อในกรณีการให้บริการหลังแท้งที่แผนกผู้ป่วยนอกต่อไป
 

เอกสาร

ลงชื่อเข้าใช้งาน

Error message here!

Hide Error message here!

Lost your password? Please enter your email address. You will receive a link to create a new password.

Error message here!

Close